Menu Close
ก๊าซไนโตรเจน (Nitrogen Gas) กับ อุตสาหกรรมโลหะ 
 

ก๊าซไนโตรเจน (Nitrogen Gas) กับ อุตสาหกรรมโลหะ 

 
ความต้องการความบริสุทธิ์ของไนโตรเจน 95% – 99%
       ก๊าซไนโตรเจน สำหรับใช้ใน process heat treatment metal หรืออีกความหมายคือขั้นตอนในการรักษาคุณภาพเหล็กหลังจากตัวชิ้นงาน ถูกอบในเตา 
โดยใน application นี้ ก๊าซไนโตรเจนจะถูกเอาไปใช้ไล่ก๊าซออกซิเจนออกจากเตา เพื่อลดโอกาสการเกิด oxidation และในวัสดุแต่ละชนิดนั้น จะใช้ค่าความบริสุทธิ์ที่แตกต่างกัน ดังนั้นการทำความเข้าใจในตัววัสดุที่ใช้นั้นมีผลโดยตรงต่อการออกแบบค่าความบริสุทธิ์ของก๊าซไนโตรเจนที่จะนำมาใช้งาน
 
การใช้ก๊าซไนโตรเจนอบชุบผิวให้แข็ง (กรรมวิธี NITRIDING)
 
เป็นวิธีการชุบผิวแข็งโดยใช้ก๊าซไนโตรเจนเป็นตัวทำให้แข็งแทนคาร์บอนในเนื้อ เหล็กและใช้กันมากในปัจจุบัน ใช้สำหรับงานที่ต้องการผิวแข็งมาก ความแข็งที่ได้รับจากการอบชุบด้วยวิธีนี้จะแข็งเฉพาะผิวบางๆและไม่อ่อนตัวเมื่อถูกความร้อน ไม่เป็นสนิม ไม่ผุกร่อนง่าย ใช้กันมากในการอบชุบชิ้นส่วนของเครื่องบิน วิธีทำคือ อบเผาชิ้นงานในเตาซึ่งปิดมิดชิดอุณหภูมิประมาณ 450 – 540 ºC แล้วอัดแก๊สแอมโมเนียเข้าไปทำปฏิกริยากับเหล็ก แก๊สแอมโมเนียเมื่อถูกความร้อนจะแตกตัวเป็นก๊าซไนโตรเจนและไฮโดรเจน ทำปฏิกริยากับธาตุที่ผสมอยู่ในเหล็ก คือ โครเมียม อลูมิเนียม โมลิบดินั่ม และแวนาเดียม และเกิดเป็นสารผสมชนิดใหม่เกาะอยู่รอบๆ บริเวณผิวเหล็ก 
 
โดยเกิดปฏิกริยาขึ้นอย่างช้าๆ ได้ความลึกผิวแข็ง บางมาก และใช้เวลานาน โดยความลึกผิวแข็งที่ได้ส่วนใหญ่จะได้ไม่มากเกิน 0.3 มม. 
ถ้าต้องการผิวลึกกว่านี้อาจจะต้องใช้เวลานานมาก เหล็กที่จะชุบด้วยวิธีนี้ต้องใช้เหล็กที่มีธาตุโครเมียม อลูมิเนียม โมลิบดินั่ม และแวนาเดียม เหล็กคาร์บอนธรรมดาชุบด้วยวิธีนี้ไม่ได้ การอบชุบด้วยวิธีนี้จึงมีราคาแพงมาก
ที่มาข้อมูล :: ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 
 
ก๊าซไนโตรเจน (Nitrogen Gas) กับ อุตสาหกรรมโลหะ 
 
ความต้องการความบริสุทธิ์ของไนโตรเจน 95% – 99%
       ก๊าซไนโตรเจน สำหรับใช้ใน process heat treatment metal หรืออีกความหมายคือขั้นตอนในการรักษาคุณภาพเหล็กหลังจากตัวชิ้นงาน ถูกอบในเตา 
โดยใน application นี้ ก๊าซไนโตรเจนจะถูกเอาไปใช้ไล่ก๊าซออกซิเจนออกจากเตา เพื่อลดโอกาสการเกิด oxidation และในวัสดุแต่ละชนิดนั้น จะใช้ค่าความบริสุทธิ์ที่แตกต่างกัน ดังนั้นการทำความเข้าใจในตัววัสดุที่ใช้นั้นมีผลโดยตรงต่อการออกแบบค่าความบริสุทธิ์ของก๊าซไนโตรเจนที่จะนำมาใช้งาน
 
การใช้ก๊าซไนโตรเจนอบชุบผิวให้แข็ง (กรรมวิธี NITRIDING)
 
เป็นวิธีการชุบผิวแข็งโดยใช้ก๊าซไนโตรเจนเป็นตัวทำให้แข็งแทนคาร์บอนในเนื้อ เหล็กและใช้กันมากในปัจจุบัน ใช้สำหรับงานที่ต้องการผิวแข็งมาก ความแข็งที่ได้รับจากการอบชุบด้วยวิธีนี้จะแข็งเฉพาะผิวบางๆและไม่อ่อนตัวเมื่อถูกความร้อน ไม่เป็นสนิม ไม่ผุกร่อนง่าย ใช้กันมากในการอบชุบชิ้นส่วนของเครื่องบิน วิธีทำคือ อบเผาชิ้นงานในเตาซึ่งปิดมิดชิดอุณหภูมิประมาณ 450 – 540 ºC แล้วอัดแก๊สแอมโมเนียเข้าไปทำปฏิกริยากับเหล็ก แก๊สแอมโมเนียเมื่อถูกความร้อนจะแตกตัวเป็นก๊าซไนโตรเจนและไฮโดรเจน ทำปฏิกริยากับธาตุที่ผสมอยู่ในเหล็ก คือ โครเมียม อลูมิเนียม โมลิบดินั่ม และแวนาเดียม และเกิดเป็นสารผสมชนิดใหม่เกาะอยู่รอบๆ บริเวณผิวเหล็ก 
 
โดยเกิดปฏิกริยาขึ้นอย่างช้าๆ ได้ความลึกผิวแข็ง บางมาก และใช้เวลานาน โดยความลึกผิวแข็งที่ได้ส่วนใหญ่จะได้ไม่มากเกิน 0.3 มม. ถ้าต้องการผิวลึกกว่านี้อาจจะต้องใช้เวลานานมาก เหล็กที่จะชุบด้วยวิธีนี้ต้องใช้เหล็กที่มีธาตุโครเมียม อลูมิเนียม โมลิบดินั่ม และแวนาเดียม เหล็กคาร์บอนธรรมดาชุบด้วยวิธีนี้ไม่ได้ การอบชุบด้วยวิธีนี้จึงมีราคาแพงมาก
Nitrogen gas generator
ที่มาข้อมูล :: ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 
 
ก๊าซไนโตรเจน (Nitrogen Gas) กับ อุตสาหกรรมโลหะ 
 
ความต้องการความบริสุทธิ์ของไนโตรเจน 95% – 99%
       ก๊าซไนโตรเจน สำหรับใช้ใน process heat treatment metal หรืออีกความหมายคือขั้นตอนในการรักษาคุณภาพเหล็กหลังจากตัวชิ้นงาน ถูกอบในเตา 
โดยใน application นี้ ก๊าซไนโตรเจนจะถูกเอาไปใช้ไล่ก๊าซออกซิเจนออกจากเตา เพื่อลดโอกาสการเกิด oxidation และในวัสดุแต่ละชนิดนั้น จะใช้ค่าความบริสุทธิ์ที่แตกต่างกัน ดังนั้นการทำความเข้าใจในตัววัสดุที่ใช้นั้นมีผลโดยตรงต่อการออกแบบค่าความบริสุทธิ์ของก๊าซไนโตรเจนที่จะนำมาใช้งาน
 
การใช้ก๊าซไนโตรเจนอบชุบผิวให้แข็ง (กรรมวิธี NITRIDING)
 
เป็นวิธีการชุบผิวแข็งโดยใช้ก๊าซไนโตรเจนเป็นตัวทำให้แข็งแทนคาร์บอนในเนื้อ เหล็กและใช้กันมากในปัจจุบัน ใช้สำหรับงานที่ต้องการผิวแข็งมาก ความแข็งที่ได้รับจากการอบชุบด้วยวิธีนี้จะแข็งเฉพาะผิวบางๆและไม่อ่อนตัวเมื่อถูกความร้อน ไม่เป็นสนิม ไม่ผุกร่อนง่าย ใช้กันมากในการอบชุบชิ้นส่วนของเครื่องบิน วิธีทำคือ อบเผาชิ้นงานในเตาซึ่งปิดมิดชิดอุณหภูมิประมาณ 450 – 540 ºC แล้วอัดแก๊สแอมโมเนียเข้าไปทำปฏิกริยากับเหล็ก แก๊สแอมโมเนียเมื่อถูกความร้อนจะแตกตัวเป็นก๊าซไนโตรเจนและไฮโดรเจน ทำปฏิกริยากับธาตุที่ผสมอยู่ในเหล็ก คือ โครเมียม อลูมิเนียม โมลิบดินั่ม และแวนาเดียม และเกิดเป็นสารผสมชนิดใหม่เกาะอยู่รอบๆ บริเวณผิวเหล็ก 
 
โดยเกิดปฏิกริยาขึ้นอย่างช้าๆ ได้ความลึกผิวแข็ง บางมาก และใช้เวลานาน โดยความลึกผิวแข็งที่ได้ส่วนใหญ่จะได้ไม่มากเกิน 0.3 มม. ถ้าต้องการผิวลึกกว่านี้อาจจะต้องใช้เวลานานมาก เหล็กที่จะชุบด้วยวิธีนี้ต้องใช้เหล็กที่มีธาตุโครเมียม อลูมิเนียม โมลิบดินั่ม และแวนาเดียม เหล็กคาร์บอนธรรมดาชุบด้วยวิธีนี้ไม่ได้ การอบชุบด้วยวิธีนี้จึงมีราคาแพงมาก
Nitrogen gas generator
ที่มาข้อมูล :: ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 
error: Content is protected !!